DotProperty.co.th

ทำความรู้จักกับ “ กรมบังคับคดี ” จะ ลงทุนอสังหา ฯ ต้องรู้ไว้ !?

สำหรับใครที่กำลังมีปัญหาในด้านสิทธิในส่วนที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือกำลังคิดจะลงทุนในด้านนี้ ก็ควรจะรู้ว่า กรมบังคับคดี มีความสำคัญต่อเรายังไง บทบาทหน้าที่ต่อ ธุรกิจ ธุรกรรม ต่ออสังหาริมทรัพย์อย่างไรบ้าง เพื่อไม่ให้เสียผลประโยชน์ ต่อการถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้อื่น หรือมิจฉาชีพ

“ กรมบังคับคดี ” เริ่มต้นจาการพัฒนาหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2517 โดยกระทรวงยุติธรรมได้ทำการยกฐานะของ “กองบังคับคดีแพ่ง” และ “กองบังคับคดีล้มละลาย” โดยจัดตั้งขึ้นเป็น “กรมบังคับคดี” ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม

พันธกิจ

ก่อนอื่นเรามารู้ถึงเป่าหมายและความมุ่งมั่นของ “กรมบังคับคดี” ก่อนว่า ภารกิจหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานและให้บริการแก่ประชาชนอย่างเรานั้น ว่ามีจุดประสงค์อย่างไรกันบ้าง

  1. ให้บริการด้านการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ การชำระบัญชี การวางทรัพย์และการไกล่เกลี่ยภายหลังคำพิพากษา อย่างมีประสิทธิภาพ เสมอภาคและเป็นธรรม
  2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และการพัฒนาระบบการบังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ การชำระบัญชี วางทรัพย์และการไกล่เกลี่ยภายหลังคำพิพากษา ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งพัฒนาและระบบงานสนับสนุน ให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
  3. พัฒนากฏหมาย ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบังคับคดี ให้ทันสมัยและเป็นมาตรฐานสากล
  4. พัฒนาเคลือข่ายและความร่วมมือ ด้านการบังคับคดีกับองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  5. พัฒนาองค์กรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
  6. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถและความเชี่ยวชาญ มีจิตสำนึกต่อการบริการอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม
  7. เผยแพร่ความรู้ทางด้านกฏหมายการบังคับคดี การวางทรัพย์ การไกล่เกลี่ยภายหลังคำพิพากษา และกฏหมายที่เกี่ยวข้องให้แก่ประชาชน ได้เข้าใจอย่างทั่วถึง

การแบ่งส่วนราชการ กรมบังคับคดี

โดยในส่วนงานราชการของ “กรมบังคับคดี” นั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆด้วยกัน คือ ส่วนกลาง และ ส่วนภูมิภาค โดยแบ่งส่วนราชการกรมบังคับคดี ได้ดังต่อไปนี้

ราชการบริหารส่วนกลาง

  1. สํานักงานเลขานุการกรม
  2. กองติดตามและเฉลี่ยทรัพย์สินในคดีล้มละลาย

3-8. กองบังคับคดีล้มละลาย 1-6

  1. กองบริหารการคลัง
  2. กองบริหารทรัพยากรบุคคล
  3. กองพัฒนาระบบการบังคับคดีและประเมินราคาทรัพย์

12-17. สํานักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 1-6

  1. สํานักฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
  2. กลุ่มตรวจสอบภายใน
  3. กลุ่มพัฒนาบริหาร
  4. กลุ่มงานคุ้มคลองจริยธรรม
  5. ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
  6. ศูนย์สารสนเทศ

ราชการบริหารส่วนภูมิภาค

  1. สำนักงานบังคับคดีจังหวัด

สำนักงานบังคับคดีจังหวัด….สาขา….

อำนาจและหน้าที่หน่วยงานในกรมบังคับคดี

ส่วนกลาง

1.สํานักงานเลขานุการกรม

มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการทั่วไปของกรม และราชการอื่นที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใดโดยเฉพาะ อํานาจหน้าที่ดังกล่าวให้รวมถึง

2.กองติดตามและเฉลี่ยทรัพย์ในคดีล้มละลาย มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

3 – 8.กองบังคับคดีล้มละลาย 1-6 มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

9.กองบริหารการคลัง มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

10.กองบริหารทรัพยากรบุคคล มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

11.กองพัฒนาระบบการบังคับคดีและประเมินราคาทรัพย์ มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนนี้

12 – 17.สํานักงานบังคับคดีแพ่งกรุงเทพมหานคร 1 – 6 มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

18.สํานักฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

19.กลุ่มตรวจสอบภายใน

ทำหน้าที่หลักในการตรวจสอบดำเนินงานภายในกรม และสนับสนุนการปฏิบัติงานของกรม รับผิดชอบงานขึ้นตรงต่ออธิบดี โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

20.กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

ทำหน้าที่หลักในการพัฒนาการบริหารของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รับผิดชอบงานขึ้นตรงต่ออธิบดี โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

21.กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

22.ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

23.ศูนย์สารสนเทศ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

ส่วนภูมิภาค

24.สำนักงานบังคับคดีจังหวัด/สาขา มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

ลงประกาศฟรี !!! ไม่มีค่าใช้จ่ายลงประกาศเลย คลิ๊ก …

ขายคอนโดมือสอง บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ที่ดิน กับ Dot Property ขายง่าย ขายไว หรือต้องการซื้อ-เช่า !!! คอนโดมือสอง บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ที่ดินทั่วไทยมากกว่า 300,000 รายการคลิ๊กที่นี่