Search

ผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วม - search results

If you're not happy with the results, please do another search

ซื้อบ้านราคาเกือบ 2 ล้าน จู่ๆ ทหารอ้างเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ คุกคามข่มขู่

อะไรจะเกิดขึ้นหาก ซื้อบ้าน ราคาเกือบ 2 ล้าน ถือโฉนดรับโอนเรียบร้อย แต่จู่ๆมีผู้หญิงอ้างเป็นทหารเรือ ข่มขู่ ล็อกบ้านไม่ให้เข้า บอกนี่บ้านฉัน และฉันเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมในบ้านหลังนี้ ซื้อบ้าน ราคาเกือบ 2 ล้าน จู่ๆ ทหารอ้างเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ นางสาวมุทิตา อิ่มสอน เปิดเผยว่า ตนได้ซื้อบ้านแฝด เลขที่ 40/663 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี...
ซื้อบ้าน

คู่รักเพศเดียวกัน มีสิทธ์เป็นเจ้าของบ้านคนละครึ่งได้หรือไม่ ถ้าอนาคตต้องแยกทางกัน

วันนี้เรามีเรื่องราวที่หลายๆท่านอาจจะ ยังไม่ทราบโดยเฉพาะคู่รักที่เป็นเพศทางเลือก ที่อยากจะ ซื้อบ้าน หรือซื้อบ้านไปแล้ว ถ้าในอนาคตอาจจะต้องแยกทางกัน จะสามารถแบ่งสิทธ์เป็นเจ้าของบ้านให้ลงตัวทั้ง2ฝ่ายได้ด้วย วิธีอะไรเดี๋ยวเราไปหาคำตอบกันเลยค่ะ คู่รักเพศเดียวกัน ซื้อบ้าน จะแบ่งสิทธ์เป็นเจ้าของบ้านคนละครึ่งยังไง โดยการมีสิทธ์เป็นเจ้าของบ้านจะต้องดูที่ว่า ตอนซื้อบ้าน ได้ซื้อแบบไหน โดยสามารถแบ่งได้เป็น เงินสด กับ เงินกู้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ซื้อบ้านด้วยเงินสด ถ้าแบบเงินสดโดยการออกคนละครึ่งเลยโดยไม่ผ่านการกู้จากทางธนาคารใดๆ สามารถที่จะ ใส่ชื่อเจ้าของผู้ถือกรรมสิทธิ์ได้ทั้ง 2คน แต่ถ้าจะขายต้องรอ 5 ปี...
การจำหน่ายทรัพย์สิน

กรมบังคับคดี กับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ตอนที่ 2

เรามาต่อกันเลยจากตอนที่แล้วกับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ที่เราได้พูดถึงไปแล้วว่าเป็นกระบวนการหนึ่งที่ดำเนินการต่อจากการยึดทรัพย์ โดยแบ่งการจัดการทรัพย์นั้นออกได้เป็น 2 กรณี ทั้งการเอารายได้จากทรัพย์สินแทนการขายทอดตลาด , การขายทอดตลาดและการประมูล เป็นต้น เหตุให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดี ในการขายทอดตลาดอาจมีเหตุตามกฎหมายที่เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องงดการขายทอดตลาด ดังนี้ เมื่อมีการถอนการยึดทรัพย์ โดยเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทย์ขอถอนการยึดทรัพย์ หรือลูกหนี้ได้วางเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษา และชำระของผู้ร้องเฉลี่ยทรัพย์ที่ศาลมีคำสั่งแล้ว พร้อมทั้งค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายครบถ้วน ศาลสั่งงดการบังคับคดี เจ้าหนี้ของดการบังคับคดี โดยได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากลูกหนี้และบุคคลภายนอก ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี กรณีบุคคลภายนอกอ้างว่าทรัพย์ที่ขายไม่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ของลูกหนี้ และได้ยื่นคำร้องขอต่อศาลขอให้ปล่อยทรัพย์นั้น ...
การจำหน่ายทรัพย์สิน-1

กรมบังคับคดี กับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ตอนที่ 1

จากบทความก่อนหน้าของการบังคับคดีแพ่ง เราได้พูดถึงทั้ง “การยึดทรัพย์สิน” และ “การอายัดทรัพย์สิน” กันไปแล้ว ในครั้งนี้เราก็จะมาขอต่อกันเลยกับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ประเภทสุดท้ายของการบังคับคดี ให้คุณผู้อ่านได้เข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนต่างๆในการดำเนินการ การจำหน่ายทรัพย์สิน เป็นขั้นตอนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันเป็นวิธีการปฏิบัติหรือดำเนินการบังคับคดี เพื่อให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลเป็นกระบวนพิจารณา ซึ่งดำเนินการภายหลังศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดแล้ว การดำเนินกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับคดีส่วนมากมิได้กระทำโดยศาล หากกระทำโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี อันมีวิธีการเกี่ยวกับการปฏิบัติ ซึ่งบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 4 วิธีการบังคับคดีเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา...
กรมบังคับคดี

กรมบังคับคดี กับ “การยึดทรัพย์สิน” ตอน การงดการบังคับคดี

เรามาต่อกันเลยจากตอนที่แล้ว ที่เราได้พูดถึง ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดียึดทรัพย์ ในครั้งนี้มาต่อกันด้วยเรื่องการงดการบังคับคดี และ การถอนการบังคับคดี ของ กรมบังคับคดี ว่าปัจจัยและขั้นตอนการดำเนินการทั้งงดและถอดถอนการบังคับคดีมีอะไรกันบ้าง เพื่อเป็นโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อคุณผู้อ่านเอง กรมบังคับคดี กับ การงดการบังคับคดี การงดการบังคับคดีจะดำเนินการได้แต่เฉพาะกรณีที่การบังคับคดียังไม่ได้กระทำหรือที่จะกระทำต่อไป จะงดการบังคับคดีที่ปฏิบัติกันมาแล้วไม่ได้ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดำเนินการบังคับคดีโดยขายทอดตลาดทรัพย์สินเสร็จสิ้นไปแล้ว ศาลจึงไม่มีอำนาจที่จะสั่งให้งดการบังคับคดีได้ ในการบังคับคดีอาจจะถูกระงับลงได้ หากเกิดกรณีต้องงดบังคับคดีไว้ก่อน โดยอาจเกิดขึ้นได้จากผลของกฎหมาย เช่น ลูกหนี้ยื่นคำขอพิจารณาคดีใหม่ จนศาลสั่งให้งด หรือเจ้าหนี้ไม่วางค่าใช้จ่าย และการงดการบังคับคดีอาจเกิดขึ้นได้ โดยการตกลงยินยอมระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้ด้วย ถ้าเจ้าหนี้แจ้งเป็นหนังสือไปยังเจ้าพนักงานบังคับคดี...
กู้ร่วม,กู้ร่วมซื้อบ้าน,กู้ซื้อบ้าน,สินเชื่อบ้าน,ขอสินเชื่อ,ลดหย่อนภาษี

สิ่งที่ต้องรู้!!! ถ้าจะ กู้ร่วมซื้อบ้าน …

ต้องรู้ก่อนถ้าจะ กู้ร่วมซื้อบ้าน By K-Expert “อยากมีบ้านเป็นของตัวเองสักหลังหนึ่ง” เชื่อว่าเป็นความฝันที่ทุกคนมีเหมือนๆ กัน ซึ่งปัจจุบันเราสามารถเป็นเจ้าของบ้านได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องรอเก็บเป็นเงินก้อนใหญ่ก็สามารถกู้เงินซื้อบ้านได้ โดยผู้ที่มีฐานรายได้สูงอาจทำเรื่องกู้บ้านเพียงคนเดียวก็ผ่าน แต่ผู้ที่มีรายได้ไม่สูงนัก หรือมีภาระค่าใช้จ่ายด้านอื่นมากทำให้มีความสามารถในการผ่อนชำระค่าบ้านลดลง หากยังต้องการซื้อบ้าน เพื่อให้สามารถกู้ผ่าน ก็จะต้องหาผู้กู้ร่วม ทั้งนี้ การกู้ร่วมนั้นมีประเด็นสำคัญๆ ที่ควรคำนึงถึง 3 เรื่องด้วยกัน ผู้กู้ร่วมซื้อบ้าน ... เป็นใครได้บ้าง แม้ว่าการกู้ร่วมจะเป็นทางออกที่ช่วยให้การกู้เงินซื้อบ้านง่ายขึ้น และได้วงเงินกู้เพิ่มขึ้น แต่ใช่ว่าจะเลือกใครมาเป็นผู้กู้ร่วมก็ได้ หรือกู้ร่วมกี่คนก็ได้...