Home Search
สรรพากร - search results
If you're not happy with the results, please do another search
ราชกิจจาฯ ประกาศกรมสรรพากร ยกเลิกการใช้สำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน รับThailand 4.0
เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2561 เว็บไซต์ ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศกรมสรรพากร เรื่อง ยกเลิกการใช้สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน
ประกาศฉบับดังกล่าวระบุว่า ตามข้อ 17 ของคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 21/2560 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ ลงวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2560
ประกอบกับที่ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนตามนโยบายThailand 4.0 ครั้งที่...
สรรพากรเพ่งเล็งการจ่ายภาษีนิติบุคคล
สรรพากรเพ่งเล็งการจ่ายภาษีนิติบุคคล
สำหรับการจ่ายภาษีในรอบบัญชี 2556 ที่กำลังใกล้มาถึง ในเดือน พฤษภาคม ปีนี้นั้นทาง นายสุทธิชัย สังขมณี อธิบดีกรมสรรพากร ได้มีการสั่งการให้จับตาการจ่ายภาษีนิติบุคคลของบริษัทต่างๆนั้น สอดคล้องกับการเสียภาษีบุคคลธรรมดาหรือไม่โดยเน้นที่ระดับผู้บริหาร หรือ เจ้าของกิจการต่างๆ เพราะจากหลายปีที่ผ่านมา ทางสรรพากรมีการตรวจสอบได้ว่ามีหลายบริษัทหลีกเลี่ยงภาษี หรือ จ่ายไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยทำให้รัฐขาดรายได้ และมีการยื่นภาษีบุคคลธรรมดาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งการตรวจสอบนั้นทางสรรพากรมีการตรวจสอบได้หลายวิธี
อีกทั้งผู้บริหารบางคนหรือกรรมการบริษัทต่างๆ มีรายรับมากกว่าการบริหารบริษัทเพียงอย่างเดียว บางคนมีกิจการอื่นๆ มีรายได้จากแหล่งอื่นๆด้วย และจะตรวจสอบไปถึงสินทรัพย์ต่างๆที่มีอีกด้วย...
อสังหาฯ กับดิจิทัล โลกกำลังเดินหน้าเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง
โลกกำลังก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่เว้นกระทั่งตลาดอสังหาฯ ที่เริ่มขยับเข้าสู่ความเป็นดจิทัลมากขึ้นเรื่อยๆ แล้วโดยเราสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนเมื่อผู้พัฒนาโครงการหลายเจ้าออกมาประกาศรับการซื้ออสังหาฯ ด้วยสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างเงินคริปโตฯ กันมากขึ้นแล้วยังมีการมาถึงของโลกเสมือนจริงที่มีการค้าขายพื้นที่อสังหาฯกันในนั้นด้วย
วันนี้ดอทจึงพาทุกคนมาดูกันว่าตลาดอสังหาฯ กับโลกดิจิทัลนั้นกำลังเชื่อมกันไปถึงจุดใดแล้วบ้าง ไม่ว่าจะเป็นคริปโตฯ หรือ METAVERSE โลกเสมือนจริงที่จะมาแรงในอนาคต
ตลาดอสังหาฯ กับสินทรัพย์ดิจิทัล
ในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ตลาดอสังหาฯ ซบเซาลงอย่างมากทีเดียว แม้ว่ารัฐบาลและผู้พัฒนาโครงการจะออกมาตรการและโปรโมชันขึ้นมามากมายแต่ก็ไม่สามารถปลุกให้ตลาดอสังกาฯ กลับมาคึกคักได้เท่าใดนัก แต่เมื่อช่วงปลายปีที่ผ่านมานี้ได้มีการประกาศใช้สินทรัพย์ดิจิทัลด้วยสกุลดิจิทัลหลักอย่างเช่น Bitcoin: BTC, Ethereum: ETH และ Tether USD:...
ค่าใช้จ่ายคอนโดมือสองมีมากกว่าที่คิด! เตรียมงบให้พร้อมก่อนเป็นเจ้าของห้องมือสองกัน
เมื่อย่านเมืองหลวงหรือพื้นที่เศรษฐกิจมีจำกัด แต่ความต้องการที่อยู่อาศัยมีเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงทำให้มีธุรกิจการขายคอนโดมือสองเกิดขึ้น บ้างก็ขายต่อเพื่อหลีกหนีความวุ่นวายไปอยู่ชานเมือง บ้างก็ขายต่อเพื่อเก็งกำไร แต่ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม การขายคอนโดก็มีแต่จะสร้างกำไรมหาศาลให้กับเจ้าของห้องอยู่ดี
คอนโดมือสองมีทั้งข้อดีและข้อด้อยต่างกันไปตามทำเล และฟังก์ชันการใช้งาน ผู้ซื้อควรศึกษาให้ละเอียดรอบด้านก่อนทำธุรกรรมทางการเงิน ทั้งสภาพห้อง การเดินทาง เปรียบเทียบราคา การให้บริการของนิติบุคคล รวมถึง ค่าใช้จ่ายคอนโดมือสอง ก็ควรรู้ด้วย เพื่อประกอบการตัดสินใจ
ค่าใช้จ่ายคอนโดมือสองที่ต้องรู้
การจะเป็นเจ้าของคอนโดสักห้อง แม้จะเป็นห้องมือสอง ก็จะมีค่าใช้จ่ายที่นอกเหนือจากราคาซื้อขายด้วย การมีงบประมาณที่พอดีเกินไป อาจทำให้พลาดคอนโดที่ถูกใจไปได้ ดังนั้นก่อนจะทำการซื้อขายหรือโอนห้อง ผู้ซื้อควรศึกษารายละเอียดที่ต้องจ่ายให้แน่ชัดว่าครอบคลุมเรื่องใดบ้าง...
ส่องมาตรการรัฐ ธุรกิจอสังหาฯ 2563 ต่ออายุมาตรการเก่า ต้านตลาดไทยชะลอตัว
ช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้ ดูเหมือนจะเป็นขาลงของธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ไทย ทั้งด้วยปัญหาที่มาจากปัจจัยภายนอกคือเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มชะลอตัวลง ด้วยผลกระทบจากสงครามการค้า ไปจนถึงปัจจัยภายในอีกหลายเรื่อง ทั้งปริมาณซัพพลายที่มีอยู่มากมายล้นตลาด, ปัญหาหนี้สินภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง, ความเข้มงวดในการให้สินเชื่อที่อยู่อาศัยของสถาบันการเงินที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงเกณฑ์ LTV ที่เข้มงวดมากขึ้นและการกำหนดให้ธนาคารสามารถปล่อยวงเงินกู้ร่วมที่เกี่ยวกับบ้านได้ไม่เกิน 100% ของหลักทรัพย์ค้ำประกัน ซึ่งด้วยผลจากมาตรการดังกล่าว ที่เริ่มบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2562 ทำให้ยอดโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยตั้งแต่ช่วงไตรมาส 2 ลดลงไปมากถึง 18.9% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปี 2561
เมื่อเป็นดังนี้...
หนังสือรับรอง ดอกเบี้ย สินเชื่อบ้าน
คนเราทุกคนย่อมอยากจะมีบ้านเป็นของตัวเอง และเมื่อตกลงใจซื้อบ้านแล้วนั้นสิ่งที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คือภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในแต่ละเดือนไม่ว่าโดยเฉพาะในส่วนของการผ่อนชำระเงินกู้ที่ทำไว้กับสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อนำเงินมาซื้อบ้านนั่นเอง ซึ่งภาระในการชำระหนี้พร้อม ดอกเบี้ย นั้นสามารถเรียกได้ว่าเป็นการผูกพันระยะยาวเฉลี่ยรายละ 20 ปีเลยทีเดียว
ในการชำระ ดอกเบี้ย บ้านนั้นผู้กู้จะต้องชำระเป็นจำนวนที่มากพอสมควรในแต่ละปี ยกตัวอย่างเช่นบ้านราคา 1 ล้านบาทเราจะเสียดอกเบี้ยขั้นต่ำอยู่ที่ 30,000 บาทต่อปี ถ้าหลังละ 3 ล้านบาทก็จะเสียดอกเบี้ยที่ 90,000 บาทนั่นเอง ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่ไม่น้อยเลยในแต่ละปีสำหรับดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายไป แต่ยังมีบางเรื่องที่ผู้กู้หลายคนอาจจะละเลยไป หรืออาจจะไม่รู้ว่าในส่วนของการผ่อนชำระค่าบ้านนั้นดอกเบี้ยที่เกิดจากการกู้ยืมเงินนั้นยังมีประโยชน์อยู่บ้างเพราะว่าสามารถนำไปใช้ลดหย่อนภาษีได้
แต่การที่จะลดหย่อนภาษีโดยใช้ดอกเบี้ยบ้านนั้นจำเป็นต้องมีหนังสือจากทางสถาบันการเงินที่ให้กู้ที่เรียกว่า...
โครงการ “บ้านดีมีดาวน์”
“บ้าน” ถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่สำคัญมากในการดำรงชีวิต ความต้องการที่จะมีบ้านเป็นของตัวนั้นถือว่าเป็นสิ่งที่อยู่ในความคิด และเป็นความฝันของแทบทุกคน แต่การที่จะซื้อบ้านซักหลังนั้นก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะว่าเมื่อเลือกบ้านที่มีคุณภาพในทำเลที่ตั้งซึ่งสอดคล้องกับการใช้ชีวิตของเราได้แล้วนั้น ขั้นตอนต่อไปคือการทำธุรกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้บ้านหลังนั้นมาครอบครอง โดยภาระทางการเงินที่จะมาเป็นอันดับแรกคือการวางเงินดาวน์ หรือการผ่อนดาวน์บ้าน ซึ่งส่วนมากแล้วนั้นแหล่งเงินทุนที่คนส่วนมากนำมาซื้อบ้านจะเป็นการกู้เงินจากสถาบันการเงินต่างๆ นั่นเอง
ซึ่งการกู้เงินจากสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อนำมาซื้อบ้านนั้นเป็นเรื่องที่คนส่วนใหญ่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และการก็เงินเพื่อมาซื้อบ้านนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินในครอบครัวพอสมควร ซึ่งเรื่องนี้ทางภาครัฐบาล โดยกระทรวงการคลังได้เล็งเห็นว่าเป็นเรื่องที่ควรยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ จึงประกาศนโยบายในการช่วยเหลือผู้ที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองในชื่อโครงการ “บ้านดีมีดาวน์” ซึ่งโครงการนี้จะเป็นการช่วยเหลือด้านการเงิน โดยทางภาครัฐจะช่วยสนับสนุนเงินในรูปแบบของ Cash back เพื่อลดภาระของการผ่อนดาวน์บ้านเป็นจำนวนเงิน 50,000...
โอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ให้ฟรี กับซื้อขาย มีค่าใช้จ่ายและขั้นตอนต่างกันยังไง
เคยสงสัยกันไหมว่า การโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ให้ฟรีและการขายกรรมสิทธิ์อสังหาริมทรัพย์ต่างกันยังไง ใช้ในกรณีใดได้บ้าง และมีค่าใช้จ่ายที่เหมือนและต่างกันหรือไม่ รวมไปถึงการให้เฉพาะส่วนคืออะไร เป็นการโอนกรรมสิทธิ์รูปแบบไหน วันนี้เรามีคำตอบ
ข้อแตกต่างระหว่างการให้และการขาย
การให้และการขายมีข้อแตกต่างกันตรงที่การให้เป็นการโอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หา โดยไม่ได้รับเป็นค่าตอบแทนจากผู้รับ หรือจะพูดให้เข้าใจง่ายๆเลยคือ เป็นการให้ฟรีๆ แต่การขายนั้นต้องมีการชำระราคาทรัพย์สินให้แก่ผู้ขายด้วย
ส่วนการให้หรือขายเฉพาะส่วน คือ การที่เจ้าของที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์อยู่หลายคน แต่เจ้าของคนใดคนหนึ่งมีความประสงค์ที่จะให้หรือขายเฉพาะส่วนทั้งหมดของตนเท่านั้น
ค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียน
สําหรับค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนขายหรือให้ที่ดินแกญาติ ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องเสียเท่ากัน ดังนี้
ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 2 จากราคาประเมินทุนทรัพย์
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย...
โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ญาติพี่น้อง ต้องทำยังไง เสียค่าใช้จ่ายเท่าไหร่
ปกติแล้วการ โอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ที่ถูกที่สุดคือการที่พ่อแม่โอนให้ลูก หรือการโอนสายตรงเท่านั้น การโอนให้กันระหว่างญาติพี่น้อง มักเสียค่าธรรมเนียมเทียบเท่ากับบุคคลทั่วไป โดยมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง ต้องดำเนินการอย่างไร และคำนวณยังไง เรามาหาคำตอบกัน
การโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ให้ญาติพี่น้อง
การโอนที่ดินให้ญาติพี่น้อง คิดตามหลักของการโอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้อื่นเลย เพราะไม่ใช่สายตรงอย่างพ่อแม่ลูกที่ถือว่าเป็นมรดก โดยการโอนกรรมสิทธิ์สามารถติดต่อได้ที่กรมที่ดิน ซึ่งทำหน้าที่จัดเก็บภาษีแทนกรมสรรพากรเมื่อมีการซื้อขายหรือโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน หากไม่ชำระภาษีที่กรมที่ดินให้ถูกต้องครบถ้วน ก็จะโอนกรรมสิทธิที่ดินที่ซื้อขายนั้นไม่ได้ หลักๆแล้วเราจะแบ่งค่าใช้จ่ายในการโอนที่ดินสำหรับญาติพี่น้องโอนให้กันออกเป็น 4 ประเภท คือ
ค่าธรรมเนียม ร้อยละ 2...
สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิที่ไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าของที่ดินก็มีได้
สิทธิเหนือพื้นดิน คือ ทรัพยสิทธิอย่างหนึ่ง หรือก็คือสิทธิในการเป็นเจ้าของเรือน สิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งเพาะปลูกบนดินหรือใต้ดินในพื้นที่ของบุคคลอื่นนั้นเอง ขอบเขตสิทธิเหนือพื้น คือ สิทธิเฉพาะปลูกสร้างสิ่งต่างๆ ลงบนดินของบุคคลอื่นได้ แต่จะไม่สามารถแสวงหาผลประโยชน์ในที่ดินเช่น ขุดดิน ขุดแร่ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : ป.พ.พ. มาตรา ๑๔๑๐ ถึง มาตรา ๑๔๑๖
ประเภทการจดทะเบียน สิทธิเหนือพื้นดิน
สิทธิเหนือพื้นดิน หมายถึง กรณีที่เจ้าของที่ดินทำให้เกิดสิทธิเหนือพื้นดินในที่ดินของตนทั้งหมด
...