Search

ไฟแนนซ์ - search results

If you're not happy with the results, please do another search
รีไฟแนนซ์,กู้ซื้อบ้าน,กู้เงินธนาคาร

แชร์ประสบการณ์… รีไฟแนนซ์บ้าน กับประโยชน์ของผู้กู้ซื้อบ้านที่ต้องรู้

สวัสดีค่ะวันนี้เรากลับมาพบกันอีกครั้งโดยวันนี้เรามีเนื้อหาสาระมาฝากกันค่ะ โดยครั้งนี้ขอยกเรื่องการ  รีไฟแนนซ์บ้าน มาขยายความให้ท่านผู้อ่านฟังกันค่ะเพราะทั้งแชร์ประสบการณ์การรีไฟแนนซ์บ้าน  เพื่อไม่ให้เป็นดารเสียเวลาเราไปลุยกันเลย การรีไฟแนนซ์ คือ  การย้ายแหล่งการเงินที่เราใช้อยู่จากที่เดิมไปที่ใหม่โดยได้วงเงินกู้ไม่เกินยอดหนี้ที่เหลืออยู่จากแหล่งการเงินเดิม หรือง่ายคือ การกู้เงินจากธนาคารใหม่ มาโป๊ะหนี้ธนาคารเดิม ในอันตราการผ่อนชำระเงินที่เราพอใจ  โดยทั่วไปกาารรีไฟแนนซ์จะทำกันทุกๆ 3 ปี(1ปีบ้างธนาคาร) เพราะธนาคารส่วนใหญ่จะมีโปรโมชั่นดอกเบี้ยต่ำเฉพาะ 3 ปีแรก ส่วนทำได้ทุกกรณีหรือไม่ เราต้องสอบถามหรือก็ดูสัญญาเดิมว่าเราสามารถทำได้ไหม  โดยส่วนใหญ่จะกำหนดไว้ว่าต้องอยู่กับธนาคารเดิมอย่างน้อย 3ปี ถึงจะมีสิทธิ์รีไฟแนนซ์(1ปีบ้างธนาคาร) แต่ถ้าบ้างคนเห็นว่าบ้างธนาคารมีโปรโมชั่นดอกเบี้ยต่ำกว่าธนาคารที่เรากำลังผ่อนเราจะสามารถ รีไฟแนนซ์ก่อนกำหนดได้ไหม ก็สามารถทำได้ค่ะ แต่จะเสียค่าปรับประมาณ...
รีไฟแนนซ์,กู้ซื้อบ้าน,กู้เงินธนาคาร

รีไฟแนนซ์บ้าน แชร์ประสบการณ์… กู้ซื้อบ้านกับประโยชน์ที่คุณต้องรู้

แชร์ประสบการณ์ รีไฟแนนซ์บ้าน จากคุณ dispo สมาชิกเว็บไซต์ pantip.com ส่วนตัวผมคือตั้งใจจะต้องรีทุก 3 ปีอยู่แล้ว ผมกู้ซื้อคอนโดครั้งแรก ด้วยโปร ดอกเบี้ยปีแรก 0% (ตัดเงินต้นล้วนๆ) และปีที่ 2-3 MLR -1.725 หลังจากจ่ายปีแรกที่ตัดแต่เงินต้นได้เรียบร้อย ก็เริ่มเจอดอกเบี้ยของจริง ยังดีที่คืนภาษีได้ พอครบ 3 ปีก็เริ่มเดินมันทุกแบงค์เลยครับ แต่ก็ขออัตราดอกเบี้ยลดจากแบงค์เดิมมาด้วยครับ...

รีไฟแนนซ์ ปะทะ รีเทนชั่น !!

ถ้าการ”รีไฟแนนซ์” (Refinance) คือการเปลี่ยนสำนักผ่อนเพื่อลดอัตราดอกเบี้ยการผ่อนให้น้อยลง การ “รีเทนชั่น” (Retention) ก็ลดได้ไม่แพ้กันค่ะ แถมไม่ต้องวุ่นวายหาแบงก์สำนักใหม่ให้เพลียร่างอีกด้วย เพราะ การ “รีเทนชั่น” ก็คือ การขอเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคารเดิมนั่นเอง ทีนี้เราลองมาเปรียบเทียบดูกันถึงข้อแตกต่างระหว่างการรีเทนชั่นกับรีไฟแนนซ์ มาดูกันสิว่า…แบบไหนจะให้ความคุ้มค่ากับเราได้มากที่สุด รีเทนชั่น (Retention) 1. ไม่ต้องยุ่งยากเตรียมเอกสารมาก เนื่องจากธนาคารมีฐานข้อมูลของลูกค้าอยู่แล้ว 2. ระยะการพิจารณาอนุมัติไม่นาน กู้รู้ผล 3. ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมมาก 4. อัตราดอกเบี้ยลดลงไม่มากนัก ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 0.25-0.50% (ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของผู้กู้) 5. ต้องผ่อนค่างวดไปแล้วอย่างน้อย...

อนุญาตแล้ว !! นาโนไฟแนนซ์

นายสมหมาย ภาษี รมว.คลัง เปิดเผยว่า กระทรวงการคัลง ได้ออกใบอนุญาตให้มีผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อรายย่อย หรือนาโนไฟแนนซ์ จำนวน 4 ราย ได้แก่ บริษัทเงินสดทันใจ , บริษัทไทยเอซ แคปปิตอล , บริษัทแมคคาเล กรุ๊พ และบริษัทสหไพบูลย์ ซึ่ง 2 บริษัทแรกจะเริ่มดำเนินการในเดือนเมษายน ส่วนอีก 2...

แจ้งเตือน..ระวังผู้แอบอ้างทำนาโนไฟแนนซ์

นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เผยปัจจุบันมีผู้แอบอ้างว่าได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังให้ประกอบธุรกิจสินเชื่อรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพหรือสินเชื่อนาโนไฟแนนซ์ โดยนอกจากให้บริการสินเชื่อแก่ประชาชนรายย่อยในอัตราที่สูงกว่าที่กฎหมายกำหนดแล้ว ยังมีการรับฝากเงินจากประชาชนเป็นการทั่วไป           ซึ่งความจริงแล้ว ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันยังไม่ได้ออกใบอนุญาตให้กับผู้ประกอบการรายไหน และการประกอบธุรกิจสินเชื่อนาโนไฟแนนซ์จะไม่มีการรับเงินฝากจากประชาชน สำหรับการกระทำดังกล่าวถือเป็นความผิดตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ นอกจากนี้การรับฝากเงินจากประชาชนที่ไม่ได้รับอนุญาตถือเป็นความผิดตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่...

รีไฟแนนซ์ หรือจะสู้ รีเทนชั่น !!

ถ้าการ”รีไฟแนนซ์” (Refinance) คือการเปลี่ยนสำนักผ่อนเพื่อลดอัตราดอกเบี้ยการผ่อนให้น้อยลง การ “รีเทนชั่น” (Retention) ก็ลดได้ไม่แพ้กัน แถมไม่ต้องวุ่นวายหาแบงก์สำนักใหม่ให้เพลียร่างอีกด้วยล่ะค่ะ เพราะ การ “รีเทนชั่น” ก็คือ การขอเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคารเดิมนั่นเอง            ทีนี้เราลองมาเปรียบเทียบดูกันถึงข้อแตกต่างระหว่างการรีเทนชั่นกับรีไฟแนนซ์ มาดูกันสิว่า...แบบไหนจะให้ความคุ้มค่ากับเราได้มากที่สุด รีเทนชั่น (Retention)            1. ไม่ต้องยุ่งยากเตรียมเอกสารมาก เนื่องจากธนาคารมีฐานข้อมูลของลูกค้าอยู่แล้ว            2. ระยะการพิจารณาอนุมัติไม่นาน กู้รู้ผล            3. ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมมาก            4. อัตราดอกเบี้ยลดลงไม่มากนัก...

อะไรคือ…นาโน ไฟแนนซ์…?

มีข่าวมาตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว เป็นข่าวใหญ่ ดังครึกโครมอยู่ช่วงหนึ่งว่า นาโน ไฟแนนซ์จะมาแก้ไขปัญหาการกู้เงินนอกระบบ และมีข่าวแว่วๆมาว่าจะเริ่มเป็นรูปเป็นร่างจริงจังอีกครั้งในช่วงต้นปี 2558 ซึ่งก็คือปีนี้นี่เอง... แล้ว นาโน ไฟแนนซ์ คืออะไรหล่ะ...? คำตอบ ก็คือ การให้สถาบันทางการเงินต่างๆทำการปล่อยสินเชื่อในอัตราดอกเบี้ยประมาณเดียวกันกับ เงินกู้นอกระบบ เพื่อขจัดปัญหาหนี้นอกระบบ ก็ไม่รู้สินะว่าจะจัดการได้จริงมั้ย...แต่ที่รู้ๆ ตอนนี้เราลองมาดูกฎเกณฑ์และเงื่อนไขต่างๆสำหรับการจัดตั้งการประกอบกิจการนาโนไฟแนนซ์กันก่อนดีกว่า... จัดตั้งเป็นบริษัทสินเชื่อรายย่อย (บย.) ทุนจดทะเบียนขั้นต่ำ 10 ล้านบาท เงินที่ใช้ปล่อยกู้จะต้องเป็นเงินทุนตัวเองและรับความเสี่ยงเอง ไม่สามารถรับฝากเงินได้ กำหนดให้ บย. คิดดอกเบี้ยได้สูงกว่า...

ผ่อนไม่ไหว ทำไงดี รีไฟแนนซ์ ?

  สวัสดีค่ะ ทุกคน...หากคุณกำลังตกอยู่ในสภาวะ เงินไม่พอใช้ และไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรดี เราขอแนะนำให้คุณลองทำตามวิธีเหล่านี้ดูก่อนค่ะ 1. สำรวจพฤติกรรมการใช้เงิน 2. ไม่ก่อหนี้เพิ่ม ลดละ ความอยาก 3. หารายได้เสริม จากการทำงานพิเศษต่างๆ แต่ถ้าหากคุณประสบกับปัญหา มีหนี้เพิ่มจากการซื้อบ้านแล้วผ่อนไม่ไหวขึ้นมาแล้วล่ะก็ “การรีไฟแนนซ์” ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่นิยมทำกันค่ะ รีไฟแนนซ์ ก็คือ การเปลี่ยนการกู้จากผู้ให้สินเชื่อเดิมเป็นรายใหม่นั่นเอง ซึ่งสามารถอ่านคำแนะนำต่างๆได้ที่ https://www.dotproperty.co.th/url/93b1d9c แต่สำหรับประเด็นที่มือใหม่อย่างเราต้องเรียนรู้เพิ่มเติมก็คือ 3 ข้อหลักๆ ดังต่อไปนี้ 1. ผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงทำให้เราจ่ายเงินนั้นลดลงด้วยนั่นเอง 2. ค่าใช้จ่ายในการรีไฟแนนซ์ - ค่าใช้จ่ายจากสถาบันเดิม...

รีไฟแนนซ์แล้วปล่อยเซ้ง…กำไรง่ายขายไวไม่เป็นภาระ

หลังจากได้ทำความเข้าใจของความหมายของการฟลิบในแง่ของผู้ขายที่ต้องการทำกำไรจากอสังหาริมทรัพย์ไม่โดยการซื้อบ้านเก่าเพื่อการทำกำไรโดยเฉพาะเรียกได้ว่าเป็นวิธีการลงทุนของผู้ขายมืออาชีพ การฟลิปแบบรีไฟแนนซ์แล้วปล่อยเซ้งจึงเหมาะกับผู้มีสายตายาวไกลซึ่งมองออกว่าบ้านที่เล็งนั้นมีแนวโน้มว่าจะสร้างกำไรได้อย่างดีในอนาคต กลยุทธ์นี้คือการเลือกซื้อบ้านเก่าที่มีการจัดปรับปรุงเน้นให้ได้ตามต้องการของตลาด เช่น การรีโนเวตบ้านเก่าในแหล่งชุมชนหนาแน่นให้กลายเป็นอาคารพาณิชย์หรือลักษณะของโฮมออฟฟิศที่สามารถทำบริษัทเล็กๆ หรือเปิดกิจการค้าขายได้ จากนั้นผู้ลงทุนก็จะนำไปเข้ารีไฟแนนซ์บ้านซึ่งจะทำให้ผู้ลงทุนได้รับการประเมินราคาใหม่ ซึ่งผู้ลงทุนนั้นจะต้องการได้ผ่อนต่องวดในราคาที่ต่ำ ดอกเบี้ยที่ต่ำหรือคงที่ เรียกได้ว่าเป็นการซื้อบ้านที่ใช้การลงทุนน้อยหรือแทบไม่ต้องใช้เงินลงทุนเลยก่อนจะนำไปขายในลักษณะLease Option หรือขายในลักษณะการให้เช่าพร้อมสิทธิการซื้อ ซึ่งจะเก็บค่าเช้าที่สูงกว่าปกติ ปล่อยขายได้ง่ายคนซื้อจะตัดสินใจซื้อได้ง่ายเพราะวิธีนี้จะตอบโจทย์ของการใช้เงินลงทุนที่มีจำกัดได้เป็นอย่างดี เพราะสามารถเช่าเพื่อเก็บเงินมาซื้อสิทธิการซื้อและผ่อนชำระต่อได้

8 วิธี รีไฟแนนซ์ อย่างมืออาชีพ

รีไฟแนนซ์ คืออะไร...? รีไฟแนนซ์ ก็คือ การกู้เงินจากที่ใหม่ เพื่อไปใช้คืนที่เก่า แล้วทำไมต้อง รีไฟแนนซ์...? ก็เพื่อลดอัตราดอกเบี้ยที่ต้องผ่อนชำระรายเดือน และเป็นการลดอัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในการจดจำนองตลอดอายุสัญญาอีกด้วย พึงตระหนัก : เปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ย ระหว่างสถาบันการเงินเก่าและใหม่ก่อนทำรีไฟแนนซ์เพื่อความคุ้มค่ามากที่สุด ต่อไปนี้จะเป็นข้อแนะนำ 8 ข้อ ที่จะช่วยให้คุณเลือกสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยและรีไฟแนนซ์ได้อย่างมืออาชีพ รีไฟแนนซ์กับสถาบันการเงินเดิม การทำรีไฟแนนซ์ไม่จำเป็นต้องทำกับสถาบันทางการเงินอื่นเสมอไป สามารถทำได้กับสถาบันทางการเงินเดิม เนื่องจากสามารถลดความธรรมเนียมในการจำนองเงินกู้ได้ (ส่วนจะลดได้เท่าไหร่ ลองปรึกษากับทางสถาบันการเงินดูจ้ะ) รีไฟแนนซ์กับบริษัทประกันก็ได้ นอกจากสถาบันทางการเงินเดิม สถาบันทางการเงินใหม่แล้ว บริษัทประกันก็เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่ไม่ควรมองข้ามเชียวล่ะค่ะ เพราะบ่อยครั้งที่บริษัทประกันมีเงื่อนไขการปล่อยกู้ที่น่าสนใจกว่า (ลองดูนะคะ) สถาบันทางการเงินที่น่าเชื่อถือ จะดีกว่ามากถ้าใช้บริการกับบริษัททางการเงินที่น่าเชื่อถือและมีความมั่นคง...

Subscribe to receive the latest property news