Search

สรรพากร - search results

If you're not happy with the results, please do another search
ลดภาษีบ้าน

รัฐอัดฉีดคนจน ลดภาษีบ้านบวกแจกเงินให้คนไทยเที่ยว

คลังชงแพ็กเกจ พยุง ศก.อีกรอบ สั่งมีผลทันที 1 พ.ค.นี้ งัดมาตรการ ลดภาษีบ้าน แจกเงินให้คนไทยเที่ยวกระตุ้นอสังหาฯ หักได้ 1 แสนบาทสำหรับผู้ซื้อบ้านหลังแรกราคา 3-5 ล้านบาท พับ "แจกเงินท่องเที่ยว" ปรับแผนใหม่ ให้เพิ่มค่าหักลดหย่อนท่องเที่ยวจาก 1.5 หมื่นบาท เป็น 2 หมื่นบาท อัดงบฯบัตรคนจน 13,178...
กรมที่ดิน

กรมที่ดินยิ้ม ผู้ประกอบการ-คนซื้อ เร่งโอนบ้าน-ที่ดิน เพิ่มกว่า 3,677 ล้านบาท

กรมที่ดิน รับอานิสงส์ กฎ LTV ของธปท. ผู้ประกอบการ-คนซื้อ เร่งทำธุรกรรมโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัย ยอด 5 เดือนแรก ปีงบ'62พุ่ง 5.5 ล้านราย ส่งผลการจัดเก็บรายได้ กว่า 46,701 ล้านบาท เพิ่มขึ้นกว่า 3,677 ล้านบาท คาดทั้งปีจัดเก็บ ทะลุ 1.08 แสนล้าน ผู้ประกอบการ-คนซื้อ...
ที่ดินเปล่า

ที่ดินเปล่า หากไม่ได้ใช้ มีโอกาสโดนตบยึดที่ดินไปฟรีๆ

รู้หรือไม่ ที่ดินเปล่า ที่ไม่ได้ใช้นานๆอที่เราไม่ได้สนใจ จนทำให้เราละเลยการเสียภาษีที่ดินเป็นเวลานานอาจจะสัก 5-10 ปี และยิ่งหากมีจดหมายแจ้งเรื่องให้ไปชำระภาษีที่ดินที่สำนัก งานสรรพากร ตามปกติก็แค่นำเงินไปจ่ายและอาจจะมีค่าปรับตามระยะเวลาและดอกเบี้ยที่เราต้องจ่ายเรื่องก็คงจะจบ แต่ว่าบ้างคนอาจจะเจออะไรที่บอกเลยว่าเซอร์ไพรส์กว่า เอาละค่ะวันนี้เราจะมาเข้าเรื่องกันเลย ที่ดินเปล่า หากไม่ได้ใช้  อาจจะโดนคนยึดที่ดินได้ เมื่อไปจ่ายภาษีที่ดินแต่ปรากฎว่ามีคนมาจ่ายค่าภาษีที่ดินให้แล้ว…..ซ้ำยังใจดีจ่ายให้เราตลอดระยะเวลา ที่ไม่ได้ไปเสียด้วยตัวเองเลยด้วยซ้ำ บางคนอาจจะคิดว่าดีจังมีคนมาจ่ายแทนเราokจ่ายแทนให้มันดีถ้าเป็นพี่น้องเรามาจ่ายแทนคงไม่มีปัญหา แต่ถ้าคนที่มาจ่ายให้แทนเป็นใครก็ไม่รู้นั้นจะเป็นปัญหาแน่นอนค่ะ เพราะว่าเราจะไม่สามารถทราบว่าใครเป็นผู้ไปเสียให้ เพราะถ้าเราไปถามจากทางสำนักงานสรรพากรก็จะให้แต่เลขบ้านของผู้ไปเสีย ทีนี้ยาวแน่นอน เรามาดูกันว่ามันมีผลอย่างไรกับเจ้าของที่ดินบ้าง จากเหตุการที่เล่าไปด้านบนต้องบอกเลยค่ะว่าอันตรายมากๆ เพราะการทิ้งที่ดินไว้นานๆคนที่ทำการจ่ายค่าภาษีที่ดินให้เรานั้นสามารถที่จะยึดที่ดินเราได้แบบง่ายๆ เพราะโดยปกติที่ดินส่วนใหญ่จะเป็น ภทบ. 5...
ผู้มีรายได้น้อย

รัฐเตรียม คืนชีพบ้านคนจน รองรับผู้กู้ซื้อบ้านโครงการบ้านล้านหลัง

รัฐเตรียมสั่งบีโอไอส่งเสริมการลงทุนที่อยู่อาศัยเพื่อ ผู้มีรายได้น้อย พร้อมปรับรายละเอียดใหม่ขยายเพดานราคาตามที่ดินที่แพงขึ้นทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด เมื่อเร็วๆนี้นายสุรชัย ดนัยตั้งตระกูล ประธานกรรมการธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และที่ปรึกษานายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผยในงานสัมมนา "อสังหาริมทรัพย์ ดัชนีหลักชี้เศรษฐกิจ ปี 2562" ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ นายสมคิดได้สั่งให้สำนักงานส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เพิ่มการส่งเสริมการลงทุนกิจการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มี รายได้น้อย หลังจากที่ได้ยกเลิกไปแล้ว เพราะเป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อประชาชนและผู้ประกอบการ โดยคาดว่าจะมีความชัดเจนก่อนการเลือกตั้ง นายสุรชัยกล่าวว่า ทั้งนี้ จะมีการปรับรายละเอียดใหม่ อาทิ...
SIAMESE ASSET

SIAMESE ASSET TECHNOLOGY สุดยอดเทคโนโลยีปกป้องผู้อยู่อาศัย แม้ฝุ่นละอองเล็กระดับ PM 2.5 ก็ไม่หวั่น

SIAMESE EXCLUSIVE RATCHADA (ไซมิส เอ๊กซ์คลูซีพ รัชดา) คอนโดมิเนียม High-Rise จาก บริษัท ไซมิส แอสเสท จำกัด ซึ่งเป็นโครงการที่ถูกพัฒนาขึ้นมาภายใต้แนวคิด “Endless Happiness Endless Profit” ที่มาพร้อมกับจุดเด่นในการผสมผสาน Serviced Residence เข้าไป เหมาะสำหรับผู้ที่กำลังมองหาคอนโดมิเนียมเพื่อการลงทุน อีกทั้งยังชูจุดเด่นสำคัญอย่าง...
กู้ร่วมซื้อบ้าน

ก่อนกู้ร่วมซื้อบ้าน เราต้องรู้เรื่องอะไรบ้าง

สำหรับผู้ที่ต้องการจะทำการ กู้ร่วมซื้อบ้าน  เราต้องรู้เรื่องอะไรบ้างเพราะว่าหากต้องการให้มีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์บ้านหลายคนเราจะต้องทำอะไร หรือมีเงื่อนไขข้อกำหนดอย่างไร วันนี้เราไปหาคำตอบกัน ก่อน กู้ร่วมซื้อบ้าน  เราต้องรู้อะไรบ้าง ปกติธนาคารหลายๆที่จะมีนโยบายกำหนดการสำหรับผู้ที่จะทำการกู้ร่วมซื้อบ้านว่า กรณีกู้บ้านร่วมกันหลายคน จะขอมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ทุกคน หรือคนใดคนหนึ่ง สามารถทำได้แต่จะต้องการมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์บ้านร่วมกัน ดังนั้นก่อนที่เราจะทำการกู้ร่วม เหล่าผู้กู้ร่วมจะต้องคำนึงถึง 3 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน ดังนี้ เหล่าผู้ถือกรรมสิทธิ์บ้าน จะต้องรับภาระหนี้ร่วมกัน โดยข้อนี้ถึงเราจะไม่ได้เป็นผู้จ่ายค่าผ่อนบ้านเลยแค่เอาชื่อมาใส่เฉยๆ แต่เมื่อมีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในบ้านและนั้นเท่ากับว่าเราได้กลายเป็นผู้กู้ร่วม จะต้องรับภาระหนี้ที่กู้นี้ไปด้วย ทำให้ข้อมูลการเป็นหนี้นั้นจะปรากฏในเครดิตบูโร หากมีการกู้บ้านร่วมกัน ในเครดิตบูโรจะแสดงรายละเอียดว่า ตัวเรามีชื่อกู้ร่วมกับใครบ้างและยังมียอดชำระต่อเดือนเท่าไร เช่นตัวอย่าง...
เลือกตั้ง

เลือกตั้งปี”62 = ภาษีที่ดินแท้ง …?

เลิกเหนียมแล้วสำหรับปฏิบัติการยื้อ ทำให้กฎหมายใหม่ “ร่าง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง” ส่อแท้งซ้ำรอยเดิม เพราะแม้ “สนช.-สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ” ไม่ได้โดดขวางหรือเตะสกัดแบบออกนอกหน้า แต่แนวทางประเมินมาจากหลายทิศทาง ทั้งคำให้สัมภาษณ์ของทั่นประธานที่เคารพ “พรเพชร วิชิตชลชัย” ควบคู่กับการขอยืดเดดไลน์เป็นครั้งที่ 8 โดยคณะกรรมาธิการวิสามัญร่างพ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จากเดิมหมดเวลาในเดือนกรกฎาคม 2561 มีผลเลื่อนเป็นสิ้นเดือนกันยายน 2561 แทนทำสถิตินิวไฮที่มีการขอต่ออายุการพิจารณาถึง 8 ครั้งอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เลือกตั้ง เจอโรคเลื่อน 3...
สินเชื่อธุรกิจ

การคาดการณ์การเติบโตของสินเชื่อธุรกิจ ในปี61

โดยการเติบโตของ สินเชื่อธุรกิจ ในปี61หลังจากเดือน เมษายน ที่ผ่านมาหลังจาก  ผลกระทบแบงก์ถูกบีบลดดอกเบี้ยลงและเข้มงวดกับการปล่อยสินเชื่อ  ทำให้ธนาคารแห่งประเทศไทย หวั่นกดดันแบงก์ลดดอกเบี้ยเอสเอ็มอี'จะกู้ยาก ทำให้ผู้ประกอบรายย่อยได้รับผลกระทบแบบเต็มๆเพราะเหตุจากที่  เหตุแบงก์เน้นปล่อยเฉพาะรายที่เสี่ยงต่ำ เท่านั้น  โดยคุณ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย  หนุนธนาคารควรทำระบบเก็บข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานการพิจารณาปล่อยกู้ เชื่อช่วยแบงก์ลดต้นทุน  ส่งผลต่อดอกเบี้ยที่ลดลง เผยแนวโน้ม ดอกเบี้ยเอสเอ็มอีปล่อยใหม่ทยอยลดลง ขณะ 5 แบงก์ใหญ่หั่นดอกเบี้ยเหลือ 5%...
ภาษีมรดก

ภาษีมรดกสำคัญหรือไม่  มีไปทำไม ไปหาคำตอบกัน

สวัสดีคะวันนี้เราจะมาว่ากันด้วยเรื่องของ ภาษีมรดก เป็นภาษีที่ถูกเรียกเก็บเมื่อมีการโอนทรัพย์สินจากพ่อ-แม่ คนในครอบครัว หรือผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่เสียชีวิตลง ให้กับทายาทหรือผู้รับมรดก โดยเป็นการเรียกเก็บที่นิยมทำกันในประเทศพัฒนาแล้ว เพื่อความยุติธรรมในการจัดเก็บภาษีตามความสามารถในการเสียภาษี หรือเรียกว่าเก็บภาษีตามฐานะ โดยจะคำนวณจากทรัพย์สินในกองมรดกทั้งหมดที่ เป็นการจัดเก็บภาษีหลังการแบ่งมรดก โดยผู้รับมรดกแต่ละคนเป็นผู้เสียภาษี ซึ่งจะมีอัตราไม่เท่ากันตามจำนวนมรดกที่ได้รับ แต่ลำดับชั้นของสิทธิในการรับมรดก เช่น ผู้รับมรดกแบบคู่สมรสและผู้ที่รับมรดกแบบไม่ใช่คู่สมรส ซึ่งทั้งสองแบบนี้ก็จะต้องเสียภาษีมรดก แต่ถ้าผู้ที่ได้รับมรดกที่ไม่ได้เป็นคู่สมรสโดยตรงก็จะเสียภาษีมากกว่าคู่สมรสโดยตรง เป็นต้น ภาษีมรดก ข้อดีข้อเสียเป็นยังไง สำหรับข้อดีของภาษีชนิดนี้ คือเมื่อแบ่งมรดกออกเป็นส่วน ๆ ให้ทายาทแต่ละคนแล้ว จะมีโอกาสที่ต้องเสียภาษีน้อยกว่า...
App จองที่พัก-1

แชร์ประสบการณ์ ภัยจาก App จองที่พัก เดือดร้อนจนอยู่แทบไม่ได้

สวัสดีค่ะวันนี้เรากลับมาพบกันอีกครั้งนะค่ะ เคยไหมค่ะว่าการที่เราจะซื้อบ้านหรือคอนโดสักหลังเพื่อที่จะมาทำการพักผ่อนให้สบายใจเพื่ออยู่อาศัยจริงๆแต่กลับต้องมาได้รับ ความเดือดร้อนจากแขกห้องเช่ารายวัน เนื่องจากห้องเราอยู่ติดกับห้องที่เปิดให้เช่ารายวัน ผ่าน Application จองที่พัก  ทำให้แทบจะไม่ได้พักผ่อนอย่างสงบเลย ทั้งๆที่เข้ามาอยู่คอนโดนี้ได้แค่สามเดือนเท่านั้น โดยเรื่องราวในครั้งนี้จะเป็นอย่างไรนั้นเดี๋ยวเราตามไปอ่านกันได้เลยค่ะ เดือดร้อนจากแขกห้องเช่ารายวันที่คอนโด BY คุณ JULEON ตกลงห้องคอนโดสามารถปล่อยเช่ารายวัน ผ่าน App จองที่พัก ได้อย่างไม่ผิดกฏหมายใช่ไหมคะ อยากเตือนคนที่คิดจะซื้อคอนโดเพื่ออยู่อาศัยจริงค่ะ เราย้ายเข้ามาอยู่คอนโดนี้ได้สามเดือนแล้ว เป็นคอนโดที่สร้างเสร็จไม่นาน เพิ่งเปิดให้เข้าอยู่ได้ปลายปีที่แล้ว เครือเดียวกับที่มีกระทู้เตือน defect ในพันทิพเยอะๆนี่แหละค่ะ เราได้รับความเดือดร้อนจากแขกห้องเช่ารายวัน...

Subscribe to receive the latest property news