Search

กรมบังคับคดี - search results

If you're not happy with the results, please do another search
ที่ดินบางบัวทอง

กรมบังคับคดีจัดให้ ปลดล็อค กรณีที่ดินบางบัวทอง ของ จ๊ะ อาร์สยาม

"จ๊ะ อาร์สยาม" พร้อมลูกบ้าน 3 โครงการของเรสซิเดนท์ นัมเบอร์ ไนน์ ได้เฮ กรมบังคับคดีมีคำสั่ง ที่ดินบางบัวทอง ไม่อยู่ในข่ายเพิกถอนการทำนิติกรรมและเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ หลังกรมบังคับคดีมีคำสั่งชัดเจน บริษัทพร้อมให้ความช่วยเหลือดูแลลูกบ้านที่เดือดร้อนจากกรณีดังกล่าว กรมบังคับคดีปลดล็อค กรณี จากกรณี “จ๊ะ อาร์สยาม” นักร้องลูกทุ่งชื่อดังออกมาโพสต์ในโซเชียลว่าไม่สามารถขายบ้านหลังแรกที่ซื้อเมื่อ 4 ปีก่อนที่บางบัวทอง ทั้งที่โฉนดเป็นชื่อตนเอง เพราะที่ดินติดคดีฟ้องระหว่างโครงการกับเจ้าของที่ดินเดิมนั้น ทางบริษัท เรสซิเดนท์ นัมเบอร์...
ซื้อบ้านจากกรมบังคับคดี

แชร์ประสบการณ์แก้ปัญหา ซื้อบ้านจากกรมบังคับคดี แถมคนอยู่อาศัย สามารถจัดการได้โดยไม่ต้องจ้างทนาย

สำหรับใครที่สนใจ ซื้อบ้านจากกรมบังคับคดี กลัวว่าอาจจะต้องพบปัญหาเจ้าของบ้านเดิมไม่ยอมย้ายออกจากบ้านทำให้อาจจะต้องฟ้องร้องและดำเนินการตามกฎหมาย เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายต่างๆมากมาย ดังนั้นวันนี้เรามีไอเดียแก้ปัญหาสำหรับการซื้อบ้านจากกรมบังคับคดีที่ยังมีคนอยู่อาศัยมาฝาก โดยที่เจ้าตัวสามารถจัดการได้โดยไม่ต้องจ้างทนาย สำหรับเรื่องราวครั้งนี้เป็นของคุณ สมาชิกหมายเลข 5106283 สมาชิกจากเว็บไซต์ pantip.com ที่ได้มาแชร์เรื่องราวในครั้งนี้ เพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเราไปชมกันเลย   ซื้อบ้านจากบังคับคดี แล้วทำอย่างไรต่อไปเมื่อมีคนยังอาศัยอยู่?? BY  สมาชิกหมายเลข 5106283 สวัสดีค่ะ กระทู้นี้อยากมาเล่าเรื่องการซื้อบ้านจากกรมบังคับคดี แล้วทำอย่างไรต่อไปเมื่อมีคนยังอาศัยอยู่?? หลายๆคนอาจจะพูดออกมาได้เลยว่า ยังไงก็จะไม่มีทางซื้อบ้านขายทอดตลาดที่ยังมีคนอยู่แน่ ไม่อยากยุ่งยาก จริงๆเราก็เห็นด้วยนะ แต่ถ้าบ้านแบบทำเลดีราคาดีมาก...
ซื้อบ้านมือสอง

แชร์ประสบการณ์ ซื้อบ้านได้จากกรมบังคับคดีฯ สุดท้ายจะต้องกลายเป็นจำเลย

วันนี้เรามีเรื่องราวอุทาหรณ์ที่จะมาบอกเล่าให้เพื่อนทราบสำหรับท่านใดที่กำลังจะ ซื้อบ้านมือสอง จากกรมบังคับคดีฯควรต้องรู้ไว้ เพราะท่านอาจจะกลายเป็นจำเลยได้โดยไม่รู้ตัว โดยเรื่องประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริงนี้เป็นของ คุณ   สมาชิกหมายเลข 842541 สมาชิกจากเว็บไซต์ pantip.com ที่ได้ทำการซื้อบ้านได้จากกรมบังคับคดีฯ แต่สุดท้ายบ้านเจ้ากำดันมาทำให้จกลายเป็นจำเลยขึ้นโรงขึ้นศาลส่วนสาเหตุจะมาจากอะไรนั้น เราไปติดตามกันเลย ความทุกข์ใจของคน ซื้อบ้านมือสอง ได้จากบังคับคดีฯ สุดท้ายจะต้องกลายเป็นจำเลย !! ซะเองรึเปล่า BY  สมาชิกหมายเลข 842541 ความทุกข์ใจของคนซื้อบ้านได้จากบังคับคดีฯ สุดท้ายจะต้องกลายเป็นจำเลย !! ซะเองรึเปล่า...
กรมบังคับคดี

แชร์ประสบการณ์ ประมูลบ้านจากกรมบังคับคดี แล้วโดนยื่นคำร้องขอเพิกถอนการขาย

วันนี้เรามีเรื่องราวที่อยากจะมานำเสนอเป็นอุทาหรณ์สำหรับใตรก็ตามที่ตอนนี้มีแผนหรือสนใจที่จะทำการซื้ออสังหาริมทรัพย์จากการประมูลบ้าน กรมบังคับคดี ลองอ่านบทความนี้ก่อน ประสบการณ์ตรงจากคุณ  สมาชิกหมายเลข 2874618 สมาชิกจากเว็บไซต์ pantip.com ที่ได้มาแชร์ไว้เตือนทุกท่านในครั้งนี้ ประสบการณ์ประมูลบ้านจาก กรมบังคับคดี แล้วโดนยื่นคำร้องขอเพิกถอนการขาย BY  คุณ  สมาชิกหมายเลข 2874618 จขกท. ได้ประมูลบ้านจากกรมบังคับคดีปี 2557 วันนั้นตั้งใจไปประมูลหลังอื่น แต่ปรากฏว่าหลังที่จะประมูลมีคนสู้ราคาหลายคน จึงเปลี่ยนมาประมูลบ้านต้นเรื่อง  ในวันที่ประมูล ธนาคารเจ้าของคดีมากัน 2 คน...
การอายัดเงินเดือน

หลักเกณฑ์ที่ใช้ใน การอายัดเงินเดือน ของกรมบังคับคดี

สำหรับ การอายัดเงินเดือน นั้น จะถูกนำมาใช้ก็ต่อเมื่อศาลได้มีการพิพากษาให้เจ้าหนี้ชนะคดีแล้ว หากลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามที่ศาลได้พิพากษาแล้วล่ะก็ เจ้าหนี้เองมีสิทธิ์เรียกร้องต่อเจ้าพนักงานให้มีการอายัดเงินเดือนได้ โดยถ้าหากมีเจ้าหนี้มากกว่าหนึ่ง จะไม่สามารถทำการอายัดพร้อมกันได้ จะต้องทำการรอคิวถัดไป หรือสามารถขอส่วนแบ่งจากเจ้าหนี้รายแรกได้ หรือถ้าต้องรอจริงๆก็จะรอได้ไม่เกิน 10 ปี หากเกินก็จะหมดอายุความ หลักเกณฑ์ การอายัดเงินเดือน เงินเดือน ค่าจ้าง บำเหน็จ บำนาญ เบี้ยหวัด ของลูกหนี้ที่เป็นข้าราช หรือลูกจ้างประจำของข้าราชการ ไม่สามารถทำการอายัดได้ ลูกหนี้ที่เป็นลูกจ้างพนักงานรัฐวิสาหกิจ...
บ้านกรมบังคับคดี

แชร์ประสบการณ์หัดลงทุนครั้งแรกกับการประมูลบ้านกับกรมบังคับคดี

สวัสดีค่ะ วันนี้เรามีบทความมาฝากกันอีกเช่นเคยค่ะโดยวันนี้เรามี ประสบการณ์ การตรงสำหรับการลงทุนอสังหาทรัพย์ ในส่วนของ  บ้านกรมบังคับคดี จากประสบการณ์ของคุณ  สมาชิกหมายเลข 3500092 ก่อนที่เราจะไปดูประสบการณ์ของคุณ  สมาชิกหมายเลข 3500092  เราไปทำความรู้จักอีกสักนิดค่ะโดยการจะซื้อบ้านหรือคอนโดจากกรมบังคับคดีนั้น จะมีขั้นตอนที่ยุ่งยากกว่า NPA ของสถาบันการเงิน หากแต่ทรัพย์สินนั้นมีราคาที่ถูกกว่าราคาตลาดเมื่อเข้าร่วมประมูล ผู้เข้าร่วมประมูลจะถูกเรียกว่า “ผู้เข้าสู้ราคา”  ส่วนมากราคาเริ่มประมูลบ้านและคอนโดมือสองจากกรมบังคับคดีนั้นจะมีราคาต่ำกว่าราคาตลาดถึง 30-50%  ทำให้ได้บ้านในราคาที่ถูกกว่าขายในท้องตลาดจริงอยู่มาก และราคาบางหลังยังถูกกว่าซื้อทรัพย์สินจากธนาคารด้วยซ้ำค่ะ เอาละค่ะพูดมานานเพื่อไม่เป็นการเสียเวลาเราไปชมกันเลยค่ะ   เด็กใหม่หัดลงทุน ประสบการณ์ครั้งแรก...

กรมบังคับคดี กับ การฟื้นฟูกิจการลูกหนี้ ล้มได้ก็ต้องลุกให้เป็น!!

อีกหน้าที่หนึ่งของ กรมบังคับคดี ที่จะช่วยในส่วนของ ลูกหนี้ ในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ โดยเป็นกระบวนการทางศาล โดยผู้ที่ร้องขอต้องนำคดีขึ้นสู่ ศาลล้มละลายกลาง ซึ่งได้บัญัติเพิ่มเติมไว้ในหมวด 3/1 แห่ง พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 อันเป็นการสร้าง มาตรการทางกฎหมาย ขึ้นมาเพื่อช่วยเอื้อต่อการ ฟื้นฟูกิจการ ของลูกหนี้ กรมบังคับคดี กับกฎหมายดังกล่าวมีสาระสำคัญที่ควรรู้ ดังนี้ องค์ประกอบในการร้องขอฟื้นฟูกิจการ ประกอบด้วย ลูกหนี้ต้องเป็นบริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด หรือนิติบุคคลอื่นตามกำหนดไว้ในกระทรวง ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ...
การจำหน่ายทรัพย์สิน

กรมบังคับคดี กับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ตอนที่ 2

เรามาต่อกันเลยจากตอนที่แล้วกับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ที่เราได้พูดถึงไปแล้วว่าเป็นกระบวนการหนึ่งที่ดำเนินการต่อจากการยึดทรัพย์ โดยแบ่งการจัดการทรัพย์นั้นออกได้เป็น 2 กรณี ทั้งการเอารายได้จากทรัพย์สินแทนการขายทอดตลาด , การขายทอดตลาดและการประมูล เป็นต้น เหตุให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดี ในการขายทอดตลาดอาจมีเหตุตามกฎหมายที่เจ้าพนักงานบังคับคดีต้องงดการขายทอดตลาด ดังนี้ เมื่อมีการถอนการยึดทรัพย์ โดยเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทย์ขอถอนการยึดทรัพย์ หรือลูกหนี้ได้วางเงินชำระหนี้ตามคำพิพากษา และชำระของผู้ร้องเฉลี่ยทรัพย์ที่ศาลมีคำสั่งแล้ว พร้อมทั้งค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายครบถ้วน ศาลสั่งงดการบังคับคดี เจ้าหนี้ของดการบังคับคดี โดยได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากลูกหนี้และบุคคลภายนอก ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี กรณีบุคคลภายนอกอ้างว่าทรัพย์ที่ขายไม่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ของลูกหนี้ และได้ยื่นคำร้องขอต่อศาลขอให้ปล่อยทรัพย์นั้น ...
การจำหน่ายทรัพย์สิน-1

กรมบังคับคดี กับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ตอนที่ 1

จากบทความก่อนหน้าของการบังคับคดีแพ่ง เราได้พูดถึงทั้ง “การยึดทรัพย์สิน” และ “การอายัดทรัพย์สิน” กันไปแล้ว ในครั้งนี้เราก็จะมาขอต่อกันเลยกับ “ การจำหน่ายทรัพย์สิน ” ประเภทสุดท้ายของการบังคับคดี ให้คุณผู้อ่านได้เข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนต่างๆในการดำเนินการ การจำหน่ายทรัพย์สิน เป็นขั้นตอนหนึ่งของการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอันเป็นวิธีการปฏิบัติหรือดำเนินการบังคับคดี เพื่อให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลเป็นกระบวนพิจารณา ซึ่งดำเนินการภายหลังศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดแล้ว การดำเนินกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการบังคับคดีส่วนมากมิได้กระทำโดยศาล หากกระทำโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี อันมีวิธีการเกี่ยวกับการปฏิบัติ ซึ่งบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 4 วิธีการบังคับคดีเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา...
การอายัดทรัพย์สิน-1

การอายัดทรัพย์สิน กับ การยึดทรัพย์ ของกรมบังคับคดี ต่างกันอย่างไร?

จากที่เราเคยกล่าวไปแล้วกับกรณีของ “ การยึดทรัพย์ ” ครั้งนี้เราก็จะมาพูดถึง “ การอายัดทรัพย์สิน ” กัน ว่าเอ๊ะ!? แล้วมันจะแตกต่างจากการยึดทรัพย์ยังไง ไหนจะทั้งขั้นตอนและวิธีการอายัด ข้อกฎหมายที่นำมาใช้ในการดำเนินการ รวมไปถึงระยะเวลาในการดำเนินการ รู้ก่อน จัดการก่อน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตัวคุณเอง การอายัดทรัพย์สิน จัดว่าเป็นวิธีการบังคับคดีรูปแบบหนึ่งที่ไม่ใช่การบังคับกับทรัพย์สินที่มีอยู่ในครอบครองของลูกหนี้โดยตรง โดยจะเป็นการบังคับสิทธิเรียกร้องเป็นเงิน ของลูกหนี้ตามคำพิพากษา เป็นการสั่งให้บุคคลภายนอกมิให้ชำระหนี้แก่ลูกหนี้ตามคำพิพากษา แต่เป็นการให้ชำระแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีแทน วิธี การอายัดทรัพย์สิน มีหนังสือ (คำสั่ง)...

Subscribe to receive the latest property news