Search

สินเชื่อ - search results

If you're not happy with the results, please do another search

ดับร้อนด้วย Hot Promotion จากธนาคาร

มาอัพเดตกันอีกแล้วจ้า...สำหรับโปรโมชั่นร้อนๆจากธนาคาร ในเดือนที่อากาศกำลังร้อนระอุแบบนี้ คิดว่าจะช่วยผ่อนคลายความร้อนกันได้บ้างนะคะ            แต่ก่อนที่จะไปดูโปรฯของแต่ละธนาคาร เราทบทวนกันด้วยดีกว่ากับตระกูล 3 M ไม่ใช่สก๊อตไบร์ท ฝอยขัดหม้อแต่อย่างใด แต่คือ MRR, MLR และ MOR มะ...มาเริ่มทบทวนความเข้าใจกันหน่อย            1. MRR (Minimum Retail Rate) หมายถึง อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ารายย่อยชั้นดี เช่น สินเชื่อส่วนบุคคล...

สมาคมนายหน้าฯ เปิดหลักสูตรมุ่งพัฒนาบุคลากรรับมือการแข่งขันของตลาด

สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ไทยเปิดหลักสูตรพัฒนานายหน้าอสังหาฯ ประจำปี 2558 จับมือองค์กรต่าง ๆ และนักวิชาการ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในธุรกิจบ้านมือสอง ทั้งเรื่องการตลาด การวิเคราะห์ทำเลที่ตั้งของทรัพย์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนายหน้า รวมทั้งการปิดการขายลูกค้าต่างชาติ หวังปั้นนายหน้าไทยรับมือการแข่งขันของตลาดระดับนานาชาติ            นายแพทย์สมศักดิ์ มุนีพีระกุล นายกสมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ไทย(TREBA) เปิดเผยว่า ที่ผ่านมาสมาคมฯ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรที่อยู่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มือสอง โดยเฉพาะนายหน้าที่เป็นสมาชิกของสมาคม ให้มีโอกาสได้เรียนในหลักสูตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและสามารถนำมาใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สมาคมได้ร่วมมือกับองค์กรต่าง...

กู้ผ่านหรือไม่…วัดจากภาระของผู้กู้งั้นหรือ…?

สวัสดีค่ะ กลับมาเจอกันอีกแล้ว คราวนี้เราจะมาพูดกันถึงเรื่องภาระของผู้กู้ ว่ามีผลมั้ยกับการกู้บ้าน...            ช่วงนี้โปรโมชั่นแรงๆออกมาเพียบ ไม่ว่าธนาคารอะไรก็พากันออกมายิงโปรฯกันเป็นแถบๆ ดังนั้นจึงถือเป็นโอกาสดีที่เราจะมาพูดคุยกันเรื่องภาระหนี้ เพื่อเตรียมตัวกู้บ้านอย่างราบรื่นกันค่ะ            ภาระหนี้ที่ธนาคารจะพิจารณานั้นจะอยู่ในระบบของสถาบันการเงิน โดยจะดูจากภาระ บัตรเครดิต, บัตรกดเงินสด, บ้าน, รถยนต์ นั่นก็หมายความว่าปัจจัยที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นจะกำหนดการกู้ผ่านหรือไม่ผ่านของคุณค่ะ            ถ้าหากว่า คุณมีภาระดังกล่าว แต่จ่ายเงินอย่างสม่ำเสมอก็ไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าไม่ คุณควรจะรีบสะสางให้เรียบร้อยก่อนที่จะยื่นกู้บ้านเพื่อไม่ให้ติดเครดิตบูโรนั่นเองค่ะ            เครดิตบูโร คืออะไร ตามอ่านกันได้ที่นี่ https://www.dotproperty.co.th/url/4c6c07b         ...

อยากถอนชื่อผู้ร่วมกู้ซื้อบ้าน…ทำไงดี..?

คนธรรมดาๆ หาเช้ากินค่ำอย่างเรา เวลาจะกู้บ้านแล้วเงินไม่พอขึ้นมาก็ต้องหาคนมาช่วยกู้ร่วมด้วย... แต่ครั้นเราเกิดขัดแย้งกับคนที่ร่วมกู้ด้วยกันขึ้นมา แล้วเกิดอยากขอถอนชื่อออกจากการกู้ร่วมแล้วเนี่ย เราจะทำยังไง...?            วันนี้เราเลยมีข้อมูลมาฝากกันค่ะ ส่วนใครที่สนใจเรื่องการกู้ร่วมแต่ยังไม่ค่อยเข้าใจอะไรเท่าไหร่ สามารถคลิกเค้าไปอ่านย้อนหลังกันได้ที่ https://www.dotproperty.co.th/url/e28414f นะคะ เอาหล่ะ ...พร้อมและ มาอ่านกันค่ะ            ความจริงแล้ว ไม่ว่าผู้กู้จะมีสถานะแบบไหน...จะเป็นสามีภรรยา, ญาติพี่น้อง หรือว่า เพื่อน ก็นับว่าตกอยู่ในสถานะผู้กู้ร่วมไม่แตกต่างกันค่ะ แต่ตัวอย่างที่เราจะหยิบยกมาอธิบายในวันนี้ เราจะขอหยิบยก “กรณีสามี-ภรรยา” มาเล่าให้ฟังกันค่ะ กรณีที่คู่สมรสหย่าร้างกันแล้ว ให้เริ่มจาก            1....

เสี่ยงหรือคุ้มค่าเมื่อ คิดจะเริ่มต้นจาก อสังหาฯ ขนาดเล็ก

           หลายๆคนกำลังมีเงินเก็บหรืออยากเริ่มลงทุนกับอะไรสักอย่าง อสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็กเช่นคอนโดหรือห้องเช่า ตึกแถว อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ วันนี้เรามีข้อมูล ทั้งข้อดีและข้อเสีย ของการจะลงทุนกับอสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็ก มาฝากกัน ข้อดี ของการลงทุนกับอสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็ก            1. ใช้เงินลงทุนที่น้อยกว่าเมือเทียบกับการซื้อบ้าน หรือ ที่ดินบางแห่ง การกู้ผ่อนชำระกับธนาคารง่ายกว่า การซื้ออสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ และการกู้เงินเพื่อลงทุนซื้อบ้าน หรือที่อยู่อาศัย ทางธนาคารจะมีสินเชื่อที่เรียกว่า สินเชื่อเคหะ ซึ่งเป็นสินเชื่อที่มีดอกเบี้ยต่ำอีกด้วย            2. ลดความเสี่ยง ในการขาดทุน...

รีไฟแนนซ์ หรือจะสู้ รีเทนชั่น !!

ถ้าการ”รีไฟแนนซ์” (Refinance) คือการเปลี่ยนสำนักผ่อนเพื่อลดอัตราดอกเบี้ยการผ่อนให้น้อยลง การ “รีเทนชั่น” (Retention) ก็ลดได้ไม่แพ้กัน แถมไม่ต้องวุ่นวายหาแบงก์สำนักใหม่ให้เพลียร่างอีกด้วยล่ะค่ะ เพราะ การ “รีเทนชั่น” ก็คือ การขอเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคารเดิมนั่นเอง            ทีนี้เราลองมาเปรียบเทียบดูกันถึงข้อแตกต่างระหว่างการรีเทนชั่นกับรีไฟแนนซ์ มาดูกันสิว่า...แบบไหนจะให้ความคุ้มค่ากับเราได้มากที่สุด รีเทนชั่น (Retention)            1. ไม่ต้องยุ่งยากเตรียมเอกสารมาก เนื่องจากธนาคารมีฐานข้อมูลของลูกค้าอยู่แล้ว            2. ระยะการพิจารณาอนุมัติไม่นาน กู้รู้ผล            3. ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมมาก            4. อัตราดอกเบี้ยลดลงไม่มากนัก...

วิธีการแบบไหน…ที่ธนาคารใช้ประเมินหลักทรัพย์

สวัสดีค่า กลับมาเจอกันอีกแล้ว ขอบคุณที่ยังคงติดตามกันอย่างต่อเนื่องนะคะ            หลายคนที่ติดตามเรื่องการกู้บ้าน หรือขอสินเชื่อมานาน ก็อาจจะเกิดคำถามเรื่องของวิธีการประเมินหลักทรัพย์กันขึ้นมาบ้าง ว่า วิธีการแบบไหนนะ...ที่ธนาคารเค้าใช้ในการประเมินหลักทรัพย์ ดังนั้นวันนี้เราจึงมีข้อมูลมาแชร์ให้ได้อ่านกันค่ะ            ก่อนที่เราจะกู้ซื้อบ้านได้แต่ละครั้งเนี่ย ธนาคารเค้าต้องทำการประเมินหลักทรัพย์กันก่อนค่ะ ถึงจะเข้าสู่กระบวนการขอสินเชื่อเพื่อกู้บ้านต่อไป ซึ่งหลักๆแล้ว สิ่งที่ธนาคารจะดู มีอยู่ 2 อย่างด้วยกัน นั่นคือ Price ซึ่งหมายถึง ราคา และราคาในที่นี้ก็หมายถึง การพิจารณาถึงราคาพื้นที่ใกล้เคียงว่า พื้นที่ใกล้เคียงบ้านที่จะประเมินเนี่ยมีราคาเท่าไหร่ Place ที่แปลว่า...

กรุงไทยมอบรางวัล KTB NPA Champion 2014

           เมื่อเร็วๆ นี้ นายวรภัค ธันยาวงษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ธนาคารกรุงไทย เป็นประธานในพิธีรับมอบรางวัลโครงการ KTB NPA Champion 2014 ครั้งที่ 2 ของปี 2557 ซึ่งมี ปริญญา พัฒนภักดี สุชาติ เดชอิทธิรัตน์ ชัยชาญ พลานนท์และลือศักดิ์...

หลักทรัพย์แบบไหน…ให้วงเงินกู้สูงสุด

อยู่ดีๆก็นึกสนุกอยากจะรู้ขึ้นมาว่า บ้านแบบไหนกันน๊า...ที่เราจะกู้เงินได้มากที่สุด...? พอลองสอบถามข้อมูลดูแล้ว ถ้าจะเปรียบเทียบกันจริงๆ อาจจะไม่มีคำตอบแน่นอนตายตัว... แต่....            ได้ข้อมูลมาว่า บ้านแบบไหนก็ให้วงเงินกู้เหมือนๆกันทั้งนั้นไม่ได้แบ่งแยกอันไหนมากกว่ากัน ดังนั้นถ้าเกิดเราอยากจะ Battle ขึ้นมาก็คงต้องตั้งโจทย์ขึ้นมาใหม่เป็นว่า หลักทรัพย์แบบไหน ให้วงเงินเยอะกว่ากัน ซึ่งเรามาเริ่มดูการ Battle กันเลยดีกว่าค่ะ            ถ้าจะแบ่งให้จริงจัง สามารถแบ่งหลักทรัพย์ที่ธนาคารจะปล่อยวงเงินให้กู้ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ซึ่งแจกแจงรายละเอียดได้ดังนี้ค่ะ หลักทรัพย์เพื่ออยู่อาศัย            หลักทรัพย์ที่อยู่อาศัย แบบนี้ธนาคารจะอนุมัติวงเงินสินเชื่อการกู้ได้มากกว่าค่ะ เนื่องจากจุดประสงค์ที่ใช้เพื่ออยู่อาศัยไม่ได้นำไปทำเงิน ซึ่งสามารถกู้ได้ตั้งแต่ 90...

ธนาคารจะทำอย่างไร เมื่อคุณผ่อนบ้านต่อไม่ได้…?

คำพูดที่ว่า “ชีวิตของคนเราแขวนอยู่บนความไม่แน่นอน” คงจะเป็นเรื่องจริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่กำลังประสบกับปัญหาผ่อนบ้านต่อไม่ไหว... มีทางออกหรือเปล่า...? แล้วธนาคารจะทำอย่างไรต่อไป....?            เป็นเรื่องที่เราจะมาแชร์ให้อ่านกันในวันนี้ค่ะ แต่สิ่งหนึ่งที่ผู้กู้อย่างเราจะต้องเตรียมพร้อมกันก่อนการยื่นขอสินเชื่อก็คือการที่เตรียมเงินผ่อนล่วงหน้า 5-6 เดือนก่อนที่เราจะตัดสินใจกู้เงินผ่อนบ้าน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนปัญหาที่ไม่คาดคิดจะเกิดขึ้น            สำหรับคนที่กำลังคิดว่า ฉันกำลังจะเป็นรายต่อไป ลองอ่านกันดูก่อนสักนิดค่ะว่า เราจะเลือกทางเดินแบบไหนดี            หลักใหญ่ก็คือ ไม่มีทางที่เราจะปฏิเสธการผ่อนชำระได้เลยค่ะ ยกเว้นแต่ว่าจะพูดคุยกันเพื่อหาข้อตกลงที่พอจะเป็นไปได้เพื่อลดความตึงเครียดของทั้งลูกค้าและเพื่อไม่ให้ธนาคารต้องเสียประโยชน์ ซึ่งธนาคารจะเริ่มดำเนินการ ดังต่อไปนี้ค่ะ 1. ติดตามหนี้            เริ่มจากการตกลงเจรจาและยื่นข้อเสนอคือวิธีการขายทรัพย์คืนธนาคาร ในราคาที่ผ่อนไปแล้ว หรือก็คือการยกบ้านให้กับธนาคารไปนั่นเอง            แต่สำหรับคนที่กำลังคิดว่า ไม่เอาหรอก...